ojs2 has produced an error Message: WARNING: unlink(/var/www/html/ojs246_old/cache/fc-pluginSettings-10-customthemeplugin.php): No such file or directory In file: /var/www/html/ojs246_old/lib/pkp/classes/cache/FileCache.inc.php At line: 57 Stacktrace: Server info: OS: Linux PHP Version: 5.6.33-0+deb8u1 Apache Version: Apache/2.4.10 (Debian) DB Driver: mysql DB server version: 5.7.27
ojs2 has produced an error Message: WARNING: mkdir(): Permission denied In file: /var/www/html/ojs246_old/lib/pkp/classes/file/FileManager.inc.php At line: 306 Stacktrace: Server info: OS: Linux PHP Version: 5.6.33-0+deb8u1 Apache Version: Apache/2.4.10 (Debian) DB Driver: mysql DB server version: 5.7.27
ojs2 has produced an error Message: WARNING: assert(): Assertion failed In file: /var/www/html/ojs246_old/plugins/generic/usageStats/UsageStatsPlugin.inc.php At line: 308 Stacktrace: Server info: OS: Linux PHP Version: 5.6.33-0+deb8u1 Apache Version: Apache/2.4.10 (Debian) DB Driver: mysql DB server version: 5.7.27
การพัฒนาตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบรูปประกอบพาราโบลา | สอนสารี | งดใช้ระบบ 3-31 กค 66 Burapha Science Journal

การพัฒนาตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบรูปประกอบพาราโบลา

สรวิศ สอนสารี

Abstract


งานวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนาตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบรูปประกอบพาราโบลา โดยการออกแบบสร้าง และทดสอบประสิทธิภาพเชิงความร้อนของตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบท่อสุญญากาศชนิดฮีทไปป์ร่วมกับแผ่นสะท้อนรูปประกอบพาราโบลาทดสอบตามมาตรฐาน ISO 9806 - 1 พบว่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนของตัวเก็บรังสีอาทิตย์มีค่าเท่ากับ 78% สัมประสิทธิ์การสูญเสียความร้อนของตัวเก็บรังสีอาทิตย์ a1และ a2 มีค่าเท่ากับ 3.55 และ 0.0600 W/m2-oC ตามลำดับ ผลที่ได้จากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์นำมาหาค่าพลังงานที่ผลิตได้ โดยใช้ข้อมูลปริมาณรังสีอาทิตย์ และอุณหภูมิแวดล้อมของ จ.พิษณุโลก พบว่า พลังงานที่ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ฯ ผลิตได้ในแต่ละเดือนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 113.28 kWh/m2 หรือเท่ากับ 1,359.32 kWh/m2 ต่อปี และเมื่อวิเคราะห์ค่าพลังงานที่ผลิตได้เปรียบเทียบกับตัวเก็บรังสีอาทิตย์อื่นๆ ที่ทางวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ทดสอบ พบว่า ตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบท่อสุญญากาศชนิดฮีทไปป์ร่วมกับแผ่นสะท้อนรูปประกอบพาราโบลาสามารถผลิตพลังงานรายปีได้สูงกว่า 1,200 kWh/m2 ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มของตัวเก็บรังสีอาทิตย์ที่มีความสามารถในการผลิตพลังงานความร้อนได้สูง

 

คำสำคัญ  พลังงานแสงอาทิตย์  ตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบรูปประกอบพาราโบลา  ประสิทธิภาพเชิงความร้อน  มาตรฐาน ISO 9806 – 1


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.